STD059 เทคนิคการออกแบบโครงสร้างเหล็กและจุดต่อโดยวิธี Unified Method รุ่นที่ 3 (วิธีสมัยใหม่ การรวม CODE) อ่าน 3,701

จบการอบรม

หัวข้อ: เทคนิคการออกแบบโครงสร้างเหล็กและจุดต่อโดยวิธี Unified Method รุ่นที่ 3 (วิธีสมัยใหม่ การรวม CODE) จบการอบรม
รหัสหัวข้อ: STD059
ผู้บรรยาย-วิทยากร: TumCivil.com Team
ผู้ช่วยบรรยาย / อื่นๆ: รศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ และ ผศ.ดร.อภินัติ อัชกุล
ค่าอบรม: 5,000 บาท ลดเหลือ 4,500 บาท ลดพิเศษ
เปิดรับสมัคร: 29 เมษายน 2560 - 21 กรกฎาคม 2560
วันที่อบรม/สัมมนา: 22 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น. (ถึง / ช่วงเวลา)
23 กรกฎาคม 2560 เวลา 17:00 น.
จำนวนวันที่อบรม: (18 ชม.) 2
รายละเอียด: อบรมวันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม 2560 และ วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม 2560
สถานที่อบรม: โรงแรมรอยัลริเวอร์ เชิงสะพานซังฮี้คลิกดูแผนที่
ที่นั่งทั้งหมด (Max): 72 ที่นั่ง
ที่นั่งถูกจองแล้ว: 52 ที่นั่ง รายชื่อผู้เข้าร่วมการอบรม คลิกตรวจสอบรายชื่อ (ผู้ที่ชำระเงิน / จอง หรือในกรณีฟรีคือผู้ที่ถูกอนุมัติแล้ว)
เหลือที่นั่งว่างตอนนี้: 20 ที่นั่ง
สิทธิประโยชน์:
ระดับของหลักสูตร ขั้นพื้นฐาน ขั้นใช้งานจริง ขั้นสูงสุด

 


ชมรูปบรรยากาศการอบรมได้ที่นี่

เทคนิคการออกแบบโครงสร้างเหล็กและจุดต่อโดยวิธี Unified Method รุ่นที่ 3 (22 - 23 ก.ค.60) เทคนิคการออกแบบโครงสร้างเหล็กและจุดต่อโดยวิธี Unified Method รุ่นที่ 3 (22 - 23 ก.ค.60) new window (new window)

  เทคนิคการออกแบบโครงสร้างเหล็กและจุดต่อ รุ่นที่ 3    (Facebook)

 

 

    

ปิดรับสมัครแล้วครับ .......
  
เอกสารทำมาพอดี 50 เล่มครับ ครั้งนี้ ........
  
 



++ แถมฟรี คู่มือการออกแบบโครงสร้างเหล็กฉบับสมบูรณ์ (ASD + LRFD)

โดย ดร.มงคล 1 เล่ม (ปกแข็ง) มูลค่า 1,300 บาท ++


 

View :  

  
เทคนิคการออกแบบโครงสร้างเหล็กและจุดต่อโดยวิธี Unified Method

วิธี Unified Method (วิธีสมัยใหม่ การรวม CODE)

+++ หลักสูตรนี้เหมาะกับวิศวกรโยธาทุกระดับ เพื่อรองรับ AEC +++

แนะนำให้เพื่อนๆลองมาฟังและทราบเทคนิคต่างๆในการออกแบบวิธีนี้

โดย วิทยากรซึ่งเป็นหนึ่งในทีม

คณะอนุกรรมการโครงสร้างเหล็ก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

ห้ามพลาด...และเรามีเอกสาร + VDO ให้ด้วยเหมือนเดิม

และครั้งนี้ เพิ่ม การออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงแผ่นดินไหว
 


เล่มที่ใช้ในการอบรมครั้งนี้

(เอกสารจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม ภาษาไทย ปกแข็ง โดย วิทยากร)





 

ตัวอย่าง VDO ผศ.ดร.อภินัติ อัชกุล

 

 

TumCivil TV (แนะนำ VDO ที่เกี่ยวข้อง)

ตัวอย่าง VDO รศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์

 

 

TumCivil TV (แนะนำ VDO ที่เกี่ยวข้อง)

 



* สมัครสมาชิกเพื่อรับสิทธิ์พิเศษ สมัครสมาชิก Engfanatic ที่นี่

ผู้ที่อบรมจะต้องเป็นสมาชิกเท่านั้น ... ต้องสมัครสมาชิกก่อน รายชื่อถึงจะขึ้น ...
(การจองโดยไม่เป็นสมาชิก ทางเราจะติดต่อกลับไป....ไม่ยืนยันที่นั่งว่าง)

 


มาชมตัวอย่างการสอนสั้นๆ โดย รศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์


 

 

ศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ และ ผศ.ดร.อภินัติ อัชกุล


 
 
 
สิทธิพิเศษที่เรามอบให้ท่าน :
  1. หนังสือคู่มือเอกสารต่างๆ เกี่ยวกับการอบรมในลักษณะคู่มือ พิมพ์อย่างดี 1 ชุด
  2. พิเศษ! สมาชิก Engfanatic ฟรี
  3 รับรองคุณภาพว่าใช้งานเป็น จากวิศวกรมืออาชีพ
  4. บริการอาหารบุฟเฟต์อย่างดี 2 วัน
  5. มี VDO วันอบรมแจกให้ (ส่งตามไปหลังจากอบรม) และอื่นๆอีกมาก
    (เพียงกดปุ่มจองอัตโนมัติแบบระบุที่นั่ง ระบบจะตัดยอดทันที พร้อมสิทธิประโยชน์มากมาย)

วัตถุประสงค์:

เพื่อให้วิศวกร นิสิต นักศึกษาหรือผู้ที่สนใจทั่วไป สามารถเข้าใจถึงการออกแบบอาคารโครงสร้างเหล็กโดยวิธี Unified Method วิธีสมัยใหม่  ซึ่งสามารถอธิบายได้จากวิศวกรอาจารย์ผู้มีประสบการณ์ในการออกแบบ โดยเน้นการสอนแบบสมัยใหม่ + วิธีเก่า วิธีใต้ดิน และวิธีลัด เน้นการนำไปใช้โดยสามารถลงมือทำงานภาคปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว โดยคำนึงถึงความประหยัดเวลา ประหยัดการออกแบบ และปลอดภัยในการทำงาน รวมถึงเทคนิคต่างๆเฉพาะตัวในการออกแบบ การเลือกวัสดุ การใช้ Tips ลูกเล่นในการทำงาน เพื่อให้การออกแบบเป็นเรื่องง่ายๆ เรื่องสนุกสนานแทนที่จะต้องมานั่งปวดหัว ซึ่งการสอนครั้งนี้เน้นการสอนตามมาตรฐานและข้อกำหนดของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย(ว.ส.ท.)

การออกแบบครั้งนี้จะเน้นการคำนวณมือ โดยใช้ Spreadsheets มาช่วย เพื่อให้ผู้ออกแบบ ผู้อบรมสามารถเข้าใจหลักการและที่มา รวมถึงสูตรต่างๆที่ใช้ รวมทั้งมีเอกสารประกอบจริงๆที่แสดงสิ่งที่จำเป็นในการออกแบบครั้งนี้ เช่น ตารางหาขนาดต่างๆ สเปกของวัสดุต่างๆ รูปประกอบ ฯลฯ

สำหรับในการอบรมครั้งนี้จะเน้นหลักความเข้าใจในการออกแบบ เพื่อให้ผู้อบรมได้เกิดความเข้าใจและเกิดทักษะในการออกแบบ และมีความมั่นใจในการออกแบบมากขึ้น โดยเน้นเฉพาะโครงสร้างอาคารเหล็ก โครงหลังคา คานเหล็ก เสาเหล็ก จุดต่อต่างๆ การรับแรงลมและแผ่นดินไหว และ มีตัวอย่างการออกแบบจริงด้วย

ภาพรวมและเหตุผล:

ปัญหาใหญ่สำหรับวิศวกรที่เพิ่งจบการศึกษา คือการขาดความเข้าใจขั้นตอนการออกแบบ ไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นอย่างไร การคำนวณโครงสร้างชิ้นส่วนอาคารควรเริ่มจากส่วนใดก่อนหลัง การคำนวณน้ำหนักลงโครงสร้างทำอย่างไร การออกแบบโครงหลังคาทำอย่างไร ปัญหาเหล่านี้เป็นสิ่งที่วิศวกรจบใหม่มักพบเจอบ่อยๆ หรือแม้แต่วิศวกรที่ทำหน้าที่ควบคุมงานที่โครงการก่อสร้างซึ่งมีการเว้นว่างจากการออกแบบและคำนวณโครงสร้างเป็นเวลานาน ทำให้แนวคิดในการออกแบบได้ถูกลืมเลือนไปตามการณ์เวลา ทำให้ขาดความเชื่อมั่นและความเข้าใจในขั้นตอนการออกแบบ ทั้งในส่วนของการโมเดลโครงสร้าง การวิเคราะห์แรงกระทำของโครงสร้าง และการถ่ายแรงในส่วนต่างๆ ขององค์ประกอบของอาคาร

ในการออกแบบและคำนวณโครงสร้างนั้น หลายท่านมีความรู้สึกว่าไม่รู้จะเริมต้นงานอย่างไร จะอ่านแบบอย่างไร และ จะทำอย่างไรให้ให้โครงสร่างที่เราออกแบบนั้นมีความมั่นคง ประหยัด และถูกต้องตามหลักการออกแบบ ซึ่งทำให้เป็นปัญหาหลักของวิศวกรผู้ออกแบบ  โดยเฉพาะวิศวกรมือใหม่ หรือ นักศึกษาที่เพิ่งจบ หลายท่านกังวลว่าควรจะเริ่มจากส่วนไหนก่อน หรือว่าจะใช้ตำราอ้างอิงจากที่ไหนดี บางครั้งทำให้เกิดปัญหา ไปถามใครก็อาจจะได้คำตอบไม่ตรง เหล่านี้เป็นปัญหาที่ทำให้วิศวกรอาจจะขาดความเชื่อมั่นและทำให้ขาดความเข้าใจในการออกแบบอย่างแท้จริง เหล่านี้ทางเราจึงเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดการอบรมนี้ขึ้นมา โดยเน้นไปทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ (Workshop) อย่างลงตัวโดยใช้วิศวกรจากมืออาชีพที่เชื่อถือได้

จัดโดย :

ศูนย์อบรมและสัมมนาทางวิศวกรรม (TumCivil.com Training Center) และ บ.ยูโลจี (ประเทศไทย) จก.

วิทยากรผู้บรรยาย :

รศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์
คณะอนุกรรมการโครงสร้างเหล็ก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
อาจารย์ประจำ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี

วศ.บ. โยธา, จุฬาฯ
M.S. (Civil , U. of Michigan)
Ph.D.(Civil , U. of Michigan)

ผศ.ดร.อภินัติ อัชกุล
คณะอนุกรรมการโครงสร้างเหล็ก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
อาจารย์ประจำ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี

วศ.บ. โยธา, จุฬาฯ
M.Eng (Civil, IIT)
Ph.D. (Civil, Virginia Tech)


เนื้อหาการอบรม  :   วันเสาร์ที่  22 กรกฎาคม 2560 และ วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม 2560

ลงทะเบียน  8.00 - 8.30 น.
   
 Session 1  8.30 - 12.15 น.
   
   ผศ.ดร. อภินัติ อัชกุล
   1. ปรัชญาการออกแบบด้วยวิธี Allowable Strength Design (ASD) และวิธี Load & Resistance Factor Design
   2. การออกแบบองค์อาคารเหล็กรับแรงในแนวแกน Unified ASD & LRFD
   
 ++ ทานบุฟเฟต์กลางวัน ++
   
Session 2  13.15 - 17.00 น.
   
    ผศ.ดร. อภินัติ อัชกุล
   3. การออกแบบองค์อาคารเหล็กรับแรงดัด Unified ASD & LRFD
   4. สรุป ทบทวนและสอบถามปัญหาต่างๆ
   
 
ลงทะเบียน  8.00 - 8.30 น.
   
 Session 3  8.30 - 12.15 น.
   
   ผศ.ดร. อภินัติ อัชกุล
   5. การออกแบบจุดต่อเบื้องต้น Unified ASD & LRFD
   
 ++ ทานบุฟเฟต์กลางวัน ++
   
Session 4  13.15 - 16.00 น.
   
   รศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์
   6. ระบบโครงสร้างเหล็กและการอกแบบ
   7. สรุป ทบทวนและสอบถามปัญหาต่างๆ
   

รูปแบบการสอน:

สอนภาคทฤษฎี และ เทคนิคการออกแบบจริง มี Workshop โดยสอบถามได้ตลอดเวลา สอนเป็นภาษาไทยล้วน เนื้อหาเอกสารเป็นทั้งภาษาไทย

สิ่งที่จะได้รับวันอบรม :

  • ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักการออกแบบโครงสร้างเหล็กโดยวิธี Unified Method
  • ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ นำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานอื่นๆได้
  • หนังสือคู่มือเอกสารต่างๆ เกี่ยวกับการอบรม คู่มือ อย่างดี
  • แจกซอฟต์แวร์ที่จำเป็นสำหรับการออกแบบ ตามความเหมาะสม
  • อาหารกลางวันแบบบุฟเฟต์นานาชาติ อาหารว่าง และ กาแฟ พร้อมของว่างตลอดการอบรม

คุณสมบัติผู้เข้าร่วมอบรม :

  • วิศวกรโยธา วิศวออกแบบ นักศึกษาที่สนใจหาความรู้เพิ่มเติม
  • วิศวกรที่ต้องการทบทวนความรู้และประสบการณ์เพิ่มเติมในการวิเคราะห์โครงสร้าง
  • * สมาชิก Engfanatic Club สามารถสะสมแต้มได้ (จองที่นั่งได้ก่อน)  คนทั่วไป ไม่สามารถสะสมแต้มได้ (ที่นั่งมีจำนวนจำกัด)

ซอฟต์แวร์ที่ใช้อ้างอิง:

  • -

เอกสาร คู่มือ ประกอบการอบรม - สัมมนา :

  • ตำราพิเศษและเอกสารของทางวิทยากร 1 ชุด (เขียนเพื่องานนี้)

สิทธิพิเศษสำหรับสมาชิก :

รายละเอียดเพิ่มเติม สำรองที่นั่ง กรุณาติดต่อ :

  • สามารถสั่งจองอบรม - สัมมนานี้ได้ โดยกดปุ่มจองข้างล่าง หรือ โทร.089-4990739  คุณตั้ม 

รูปตัวอย่างแสดงรายละเอียด :

   


สัญลักษณ์และคุณภาพเพิ่มเติมสำหรับรายการนี้


 


* สมัครสมาชิกเพื่อรับสิทธิ์พิเศษ สมัครสมาชิก Engfanatic ที่นี่

ผู้ที่อบรมจะต้องเป็นสมาชิกเท่านั้น ... ต้องสมัครสมาชิกก่อน รายชื่อถึงจะขึ้น ...
(การจองโดยไม่เป็นสมาชิก ทางเราจะติดต่อกลับไป....ไม่ยืนยันที่นั่งว่าง)

 

   

ร่วมแสดงความคิดเห็น (Post Comment)