การขุดคลองระบายน้ำแบบมีดาดคอนกรีตและใช้แผ่นคอนกรีตสำเร็จ (Construction for Concrete Lining Canal) อ่าน 21,797


บทความอ้างอิงจาก http://blog.gooshared.com/view/38

โดย hephaestus.zeus

 อยู่ในหมวด »»  วัสดุและเทคนิคการก่อสร้าง
 อยู่ในหมวด »»  วิศวกรรมแหล่งน้ำ / ชลศาสตร์ / ชลประทาน
 


 

การขุดคลองระบายน้ำแบบมีดาดคอนกรีตและใช้แผ่นคอนกรีตสำเร็จ (Construction for Concrete Lining Canal)

 

                ในการทำงานด้านชลประทานหรืองานระบายน้ำเราจะมีงานที่เกี่ยวข้องหลักก็คือท่อ ระบายน้ำหรือรางระบายน้ำเพื่อเป็นทางระบายน้ำออกตามความต้องการของผู้ออกแบบ ซึ่งการเลือกใช้โครงสร้างของรางระบายน้ำก็ขึ้นอยู่กับความสำคัญของการใช้งาน และการบำรุงรักษาในระยะยาว โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความสำคัญและต้องการลดการบำรุงรักษาในระยะยาว ในที่นี้จึงขอนำเสนอวิธีการก่อสร้างของการขุดคลองระบายน้ำแบบมีดาดคอนกรีต ที่ท้องคลองและใช้แผ่นคอนกรีตสำเร็จติดตั้งเพื่อป้องกันความลาดเอียงด้าน ข้างของคันคลอง (Slope Protection) เพื่อเป็นการแบ่งปันประสพการณ์และชี้ถึงข้อดี-ข้อเสียของการก่อสร้างเพื่อ เป็นประโยชน์สำหรับวางแผนงานของผู้ที่ต้องทำงานในลักษณะนี้ต่อไปในอนาคต

 

รูปที่ 1 แสดงการขุดดินและปรับระดับท้องคลองและความลาดเอียงด้านข้าง (Slope Shaping)

 

                การขุดดินและปรับระดับท้องคลองและความลาดเอียงด้านข้าง (Slope Shaping) ต้องใช้เครื่องจักร เครื่องมือที่เหมาะสมระมัดระวังไม่ให้มีการขุดเกินออกไป (Over Cut) เพราะจะทำให้มีปัญหาถ้าต้องมีการถมเสริมดิน โดยเฉพาะที่บริเวณที่ Slope ด้านข้างของคันคลอง เพระบริเวณนั้นจะเป็นจุดอ่อนจะทำให้เกิดการพังทะลายในอนาคต

 

 

 

รูปที่ 2 แสดงการขุดดินและปรับระดับท้องคลองและความลาดเอียงด้านข้าง (Slope Shaping)

 

 

รูปที่ 3 แสดงการปูแผ่น Geotextile เพื่อเป็นการแบ่งแยกชั้นวัสดุ

 

 

รูปที่ 4 แสดงการลงชั้นทรายรองพื้น(Sand Blanket) และทำการบดอัดให้เรียบและแน่นตามที่ต้องการ

 

 

รูปที่ 5 แสดงการวางท่อของ Weep Hole และเทคอนกรีตหยาบรองพื้น (Lean Concrete)

 

 

รูปที่ 6 เทพื้นของท้องคลอง

 

 

รูปที่ 7 แสดงการติดตั้งแผ่นคอนกรีตสำเร็จรูปสำหรับ Slope Protection โดยใช้รถ Forklift

 

 

รูปที่ 8 แสดงการติดตั้งแผ่นคอนกรีตสำเร็จรูปสำหรับ Slope Protection โดยใช้รถ Backhoe

 

 

รูปที่ 9 แสดงการวางหิน Mortared Rip-rap หลังจากปรับดินเรียบร้อยแล้ว

 

 

 

รูปที่10 แสดงการเท Mortar อุดช่องว่างระหว่างหิน

 

 

รูปที่ 11 แสดงหลังจากการทำ Mortared Rip-Rap

 

 

 

รูปที่ 12 แสดงการหยอดอุดแนวรอยต่อของแผ่นคอนกรีตสำเร็จรูป

 

 

 


GoosharedBlog  New!!  -  ระบบเขียน Blog ที่ง่าย โดยใช้บัญชี Facebook ไม่ต้องสมัครสมาชิก....

จำลองบทความแบบ Timeline Facebook สามารถเขียนประสบการณ์ ความรู้ และ อัพโหลดอะไรก็ได้ ที่คุณอยากโชว์

เช่น ความรู้ ประสบการณ์ต่างๆ ด้านวิศวกรรม หรือ ด้านอื่นๆ และยังสามารถแชร์เข้า Facebook ได้ตามความต้องการ

สามารถตั้งค่าบทความให้ดูแบบสาธารณะหรือใส่รหัสผ่าน เพื่อให้ดูเฉพาะคนที่เราต้องการ.......

เรายังแบ่งเป็นหมวดหมู่ความรู้ต่างๆ ที่สามารถให้บทความของคุณ ถูกส่งเข้าจัดระเบียบเป็นหมวดหมู่ได้อีก

สามารถแนบไฟล์เอกสารประกอบ + ข้อมูลต่างๆได้ และยังสั่งพิมพ์แบบ PDF ได้อีกด้วย

....... เพราะ Facebook ไม่สามารถแนบไฟล์เอกสาร และ ค้นหาย้อนหลังได้อย่างสะดวก

และ ไม่ได้มีหมวดหมู่ที่ทำให้บทความของคุณถูกจัดระเบียบได้อย่างถูกต้อง........ลองใช้ดูนะครับ คลิกที่นี่.....


คะแนน:
ร่วมแสดงความคิดเห็น (Post Comment)